banner-image

จรรยาบรรณวิชาชีพของผู้ทำบัญชีที่ปฏิบัติงานในสำนักงานบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครต่อการจัดทำบัญชีและนำเสนองบการเงินที่อยู่นอกตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

Read 1960 times
งานวิจัย
banner

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เป็นอิทธิพลทางตรงและอิทธิพลทางอ้อมของประสิทธิผลทางการวินิจฉัยในการสอบบัญชีและประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานสอบบัญชีที่มีต่อคุณภาพการรายงานการสอบบัญชีและผลสำเร็จทางการสอบบัญชี เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สำรวจความคิดเห็นของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในประเทศไทย ที่มีการรับรองงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีปี 2556 จำนวน 550 ราย (ฐานข้อมูลของสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2557) แบบสอบถามได้รับการตอบกลับและใช้ในการวิเคราะห์จำนวน 225 ชุด

ผลการวิจัยพบว่า เมื่อพิจารณาตัวแปรผลสำเร็จทางการสอบบัญชีเป็นตัวแปรตาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกมากที่สุด ได้แก่ ตัวแปรคุณภาพการรายงานการสอบบัญชี รองลงมาคือ ตัวแปรประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานสอบบัญชี และตัวแปรประสิทธิผลทางการวินิจฉัยในการสอบบัญชีตามลำดับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และผลการวิจัยยังพบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลทางอ้อมเชิงบวกมากที่สุด ได้แก่ ตัวแปรประสิทธิผลทางการวินิจฉัยในการสอบบัญชี มีอิทธิพลทางอ้อมต่อตัวแปรผลสำเร็จทางการสอบบัญชี โดยส่งผ่านตัวแปรคุณภาพการรายงานการสอบบัญชี รองลงมาคือ ตัวแปรประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานสอบบัญชี มีอิทธิพลทางอ้อมต่อตัวแปรผลสำเร็จทางการสอบบัญชี โดยส่งผ่านตัวแปรคุณภาพการรายงานการสอบบัญชี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุตามทฤษฎีมีความสอดคล้องกลมกลืนเหมาะสมพอดีกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าสถิติไค-สแควร์ (Chi-Square) เท่ากับ 0.00 ที่องศาอิสระ (df) เท่ากับ 0 ค่าความน่าจะเป็น (P-value) เท่ากับ 1.00000 ค่าดัชนีรากที่สองของความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่า (Root Mean Square Error of Approximation: RMSEA) เท่ากับ 0.000

ขั้นตอนส่งบทความ

การส่งบทคัดย่อ (Abstract Submission)

ปิดรับบทคัดย่อ ตั้งแต่บัดนี้ – 30 พฤษภาคม 2565 บทคัดย่อ ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ มีความยาวไม่เกิน 250 คำ จัดพิมพ์ตามแบบฟอร์มที่กำหนด ลำดับในการเขียนบทคัดย่อ ชื่อเรื่อง (Title) ชื่อผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย (ถ้าผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย มาจากหลายหน่วยงาน ให้กำกับตัวเลข 1, 2, 3 เป็นตัวยกไว้ท้ายนามสกุลของผู้นั้น) สถาบันการศึกษา/สถานที่ทำงาน (ถ้าผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย มาจากหลายหน่วยงาน ให้กำกับตัวเลข 1, 2, 3 เป็นตัวยกไว้หน้าชื่อของหน่วยงานนั้น) เนื้อความบทคัดย่อ ประกอบด้วย ความเป็นมาและเหตุผล (Background), วิธีการ (Methods), ผลการดำเนินการ (Results) และสรุป (Conclusions) กำหนดให้ระบุคำสำคัญ (Keywords) ของเนื้อหาบทคัดย่อ ไม่ต่ำกว่า 3 คำ และไม่เกิน 10 คำ

การส่งบทความฉบับเต็ม (Full Paper Submission)

เปิดรับบทความฉบับเต็ม ตั้งแต่บัดนี้ – 30 พฤษภาคม 2565 บทความต้องมีความยาว 10 – 12 หน้ากระดาษ A4 จัดทำตามรูปแบบการเขียนบทความวิจัย ที่กำหนดไว้ ส่งบทความฉบับเต็มในรูปแบบไฟล์ Microsoft Word ทั้งนี้บทความที่ไม่เป็นไปตามรูปแบบที่กำหนดจะไม่ได้รับการพิจารณา ลำดับในการเขียนบทความฉบับเต็ม ชื่อเรื่อง (Title) ภาษาไทย - อังกฤษ ขนาด 18pt กำหนดกลางหน้ากระดาษตัวหนา ควรให้มีความกระชับให้มากที่สุด ชื่อผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย (ถ้าผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย มาจากหลายหน่วยงาน ให้กำกับตัวเลข 1, 2, 3 เป็นตัวยกไว้ท้ายนามสกุลของผู้นั้น) ชื่อ-ที่อยู่และประวัติผู้เขียนภาษาไทย – อังกฤษ ขนาด 14pt ประกอบด้วยชื่อผู้เขียน / ตำแหน่งงาน / หน่วยงานที่สังกัด / ชื่อสถาบัน / e-mail ถ้าผู้เขียนเป็นชาวต่างชาติให้นำนามสกุลขึ้นก่อนชื่อต้น บทคัดย่อ (Abstract) ประกอบด้วย ความเป็นมาและเหตุผล (Background), วิธีการ (Methods), ผลการดำเนินการ (Results) และสรุป (Conclusions) กำหนดให้ระบุคำสำคัญ (Keywords) ของเนื้อหาบทคัดย่อ ไม่ต่ำกว่า 3 คำ และไม่เกิน 10 คำ บทความ (Body) ประกอบด้วย บทนำ วัตถุประสงค์การวิจัย อุปกรณ์และวิธีการดำเนินงานวิจัย สรุปและอภิปรายผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง (ใช้รูปแบบ APA และผ่านการตรวจข้อผิดพลาดในข้อความ และจากการพิมพ์) ขอบข่ายการนำเสนอบทความฉบับเต็ม การนำเสนอบทความวิจัย วิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จะต้องเป็นการนำเสนอผลงานที่ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว และไม่เคยตีพิมพ์หรือได้รับการเผยแพร่มาก่อน

รูปแบบการจัดบทความ
ท่านสามารถดาวน์โหลดไฟล์ด้านล่างเพื่อใช้สำหรับจัดทำบทความวิจัย
icon
แนวทางการเขียนบทความ
icon
Template บทความ
icon
การเขียนอ้างอิง
icon
ฟอนต์ TH Sarabun

กำหนดการวันสำคัญ

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ร่วมกับ Health Education & Academics Thailand (HEAT Antiaging) เครือข่ายวิจัยประชาชื่น สมาพันธ์สมาคมสปาแอนด์เวลเนสไทย และชมรมโภชนวิทยามหิดล ได้เล็งเห็นความสําคัญในการส่งเสริมพัฒนาความรู้ทางวิชาการทางการแพทย์ และการดูแลสุขภาพ รวมทั้งการให้ความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรในวิชาชีพ ทั้งในด้านความรู้ทางวิชาชีพ ตลอดจนศักยภาพด้านอื่น ๆ ที่จําเป็นในการปฏิบัติงานที่ดีและเพื่อให้การเผยแพร่ ความรู้เป็นไปอย่างทั่วถึง จึงเห็นควรจัดการประชุมวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ความก้าวหน้า ในศาสตร์ทางการแพทย์ การดูแลสุขภาพ และศาสตร์การสร้างนโยบาย การบริหารและการจัดการ รวมทั้งเพื่อสร้างโอกาสที่จะได้แลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ของแพทย์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรทางการแพทย์ อันจะก่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในอนาคต

การประกาศผลการพิจารณาบทคัดย่อ/บทความฉบับเต็ม

จะแจ้งผลการพิจารณาให้ทราบภายในวันที่ 10 มิถุนายน 2565 หากท่านยังไม่ได้รับการตอบกลับภายในวันเวลาดังกล่าว โปรดติดต่อคณะกรรมการทาง [email protected]

หมายเหตุ : บทความที่ได้รับการคัดเลือกอยู่ในระดับดีมากจะได้รับเงินรางวัล 12,000 บาท และ ระดับดี (เกรด B) จะได้เงินรางวัล 5,000 บาท

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ร่วมกับ Health Education & Academics Thailand (HEAT Antiaging) เครือข่ายวิจัยประชาชื่น สมาพันธ์สมาคมสปาแอนด์เวลเนสไทย และชมรมโภชนวิทยามหิดล ได้เล็งเห็นความสําคัญในการส่งเสริมพัฒนาความรู้ทางวิชาการทางการแพทย์ และการดูแลสุขภาพ รวมทั้งการให้ความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรในวิชาชีพ ทั้งในด้านความรู้ทางวิชาชีพ ตลอดจนศักยภาพด้านอื่น ๆ ที่จําเป็นในการปฏิบัติงานที่ดีและเพื่อให้การเผยแพร่ ความรู้เป็นไปอย่างทั่วถึง จึงเห็นควรจัดการประชุมวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ความก้าวหน้า ในศาสตร์ทางการแพทย์ การดูแลสุขภาพ และศาสตร์การสร้างนโยบาย การบริหารและการจัดการ รวมทั้งเพื่อสร้างโอกาสที่จะได้แลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ของแพทย์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรทางการแพทย์ อันจะก่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในอนาคต

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ร่วมกับ Health Education & Academics Thailand (HEAT Antiaging) เครือข่ายวิจัยประชาชื่น สมาพันธ์สมาคมสปาแอนด์เวลเนสไทย และชมรมโภชนวิทยามหิดล ได้เล็งเห็นความสําคัญในการส่งเสริมพัฒนาความรู้ทางวิชาการทางการแพทย์ และการดูแลสุขภาพ รวมทั้งการให้ความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรในวิชาชีพ ทั้งในด้านความรู้ทางวิชาชีพ ตลอดจนศักยภาพด้านอื่น ๆ ที่จําเป็นในการปฏิบัติงานที่ดีและเพื่อให้การเผยแพร่ ความรู้เป็นไปอย่างทั่วถึง จึงเห็นควรจัดการประชุมวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ความก้าวหน้า ในศาสตร์ทางการแพทย์ การดูแลสุขภาพ และศาสตร์การสร้างนโยบาย การบริหารและการจัดการ รวมทั้งเพื่อสร้างโอกาสที่จะได้แลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ของแพทย์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรทางการแพทย์ อันจะก่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในอนาคต

คณะกรรมการ

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ร่วมกับ Health Education & Academics Thailand (HEAT Antiaging) เครือข่ายวิจัยประชาชื่น สมาพันธ์สมาคมสปาแอนด์เวลเนสไทย และชมรมโภชนวิทยามหิดล ได้เล็งเห็นความสําคัญในการส่งเสริมพัฒนาความรู้ทางวิชาการทางการแพทย์ และการดูแลสุขภาพ รวมทั้งการให้ความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรในวิชาชีพ ทั้งในด้านความรู้ทางวิชาชีพ ตลอดจนศักยภาพด้านอื่น ๆ ที่จําเป็นในการปฏิบัติงานที่ดีและเพื่อให้การเผยแพร่ ความรู้เป็นไปอย่างทั่วถึง จึงเห็นควรจัดการประชุมวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ความก้าวหน้า ในศาสตร์ทางการแพทย์ การดูแลสุขภาพ และศาสตร์การสร้างนโยบาย การบริหารและการจัดการ รวมทั้งเพื่อสร้างโอกาสที่จะได้แลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ของแพทย์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรทางการแพทย์ อันจะก่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในอนาคต

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ร่วมกับ Health Education & Academics Thailand (HEAT Antiaging) เครือข่ายวิจัยประชาชื่น สมาพันธ์สมาคมสปาแอนด์เวลเนสไทย และชมรมโภชนวิทยามหิดล ได้เล็งเห็นความสําคัญในการส่งเสริมพัฒนาความรู้ทางวิชาการทางการแพทย์ และการดูแลสุขภาพ รวมทั้งการให้ความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรในวิชาชีพ ทั้งในด้านความรู้ทางวิชาชีพ ตลอดจนศักยภาพด้านอื่น ๆ ที่จําเป็นในการปฏิบัติงานที่ดีและเพื่อให้การเผยแพร่ ความรู้เป็นไปอย่างทั่วถึง จึงเห็นควรจัดการประชุมวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ความก้าวหน้า ในศาสตร์ทางการแพทย์ การดูแลสุขภาพ และศาสตร์การสร้างนโยบาย การบริหารและการจัดการ รวมทั้งเพื่อสร้างโอกาสที่จะได้แลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ของแพทย์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรทางการแพทย์ อันจะก่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในอนาคต

ดาวน์โหลด 137 ครั้ง

Past meeting documents

cover
cover
cover
cover
cover
cover
cover
cover
SeePast meeting documentsall