ดร.ณัฏฐกฤษฏิ์ เอกวรรณัง

อาจารย์ประจำหลักสูตรการท่องเที่ยว

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

การศึกษา

  • พ.ศ. 2559 - ปร.ด. สาขาการกีฬานันทนาการและการท่องเที่ยว (วิชาเอกการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและนันทนาการ) : คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • พ.ศ. 2536 - วท.ม. (ภูมิศาสตร์) : คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พ.ศ. 2531 - น.บ. : คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

 

ประวัติการทำงาน

  • พ.ศ.2560 – ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กรุงเทพฯ
  • พ.ศ.2557-2559 รองคณบดีฝ่ายวิชาการและอาจารย์ประจำ คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กรุงเทพฯ
  • พ.ศ.2553-2556 อาจารย์ประจำ คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กรุงเทพฯ
  • พ.ศ.2551-2553 หัวหน้าภาควิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรมและอาจารย์ประจำ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กรุงเทพฯ
  • พ.ศ.2548-2551 ผู้ช่วยหัวหน้าภาควิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรมและอาจารย์ประจำ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กรุงเทพฯ
  • พ.ศ.2547-2548 เลขานุการ ภาควิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรมและอาจารย์ประจำ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กรุงเทพฯ
  • พ.ศ.2545-2547 อาจารย์ประจำ ภาควิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กรุงเทพฯ
  • พ.ศ.2541-2545 ผู้จัดการและนักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ห้างหุ้นส่วนจำกัด ยูนิเวอร์ซัล เทคโนโลยี แอ็ดวานซ์ กรุ๊ป กรุงเทพฯ
  • พ.ศ.2536-2540 นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม บริษัท โมดัส คอนซัลแทน จำกัด กรุงเทพฯ
  • พ.ศ.2536 ผู้ช่วยนักวิจัย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย กรุงเทพฯ
  • พ.ศ.2532 นักเขียนและนักถ่ายภาพ นิตยสารโมโตครอส กรุงเทพฯ
  • พ.ศ.2530-2536 Tour Leader บริษัท A.D.Camp จำกัด กรุงเทพฯ

 

สาขาวิชาการที่มีความสนใจเป็นพิเศษ

  • การจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว (Tourism Resources Management and Conservation)
  • การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (Environmental Conservation)
  • การจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Sustainable Tourism Management)
  • การจัดการการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ (Nature-based Tourism Management)
  • การจัดการการท่องเที่ยวดูนก และชมสัตว์ป่า (Avitourism and Wildlife Tourism Management)
  • ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว (Tourism Geography)

 

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย

  1. ผู้จัดการโครงการวิจัย
    • ผู้จัดการโครงการสำรวจข้อมูลภาคสนามเพื่อสนับสนุนโครงการสำรวจงานในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวปี 2543 ทำให้กับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2545
    • ผู้จัดการโครงการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลแบบสำรวจเงินเดือนและค่าตอบแทนข้าราชการ ก.พ. ทำให้กับสำนักงาน ก.พ., 2543
    • ผู้จัดการโครงการจัดทำคู่มือดูนกในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ทำให้กับกรมป่าไม้, 2543
    • ผู้จัดการโครงการศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าของที่ระลึกของนักท่องเที่ยว  ทำให้กับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2542
    • ผู้จัดการโครงการสำรวจแรงงานในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวปี 2540 ทำให้กับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2540
  2. หัวหน้าโครงการวิจัย
    • -
  3. ผู้ร่วมโครงการวิจัย
    • นักวิจัยร่วมโครงการติดตาม ประเมินผลและส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ทำให้กับกระทรวงพลังงาน, 2549
    • นักวิจัยร่วมโครงการประเมินศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว ทำให้กับสำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, 2547
    • นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมโครงการศึกษาความเหมาะสมในการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียและระบบกำจัดขยะ และกากของเสียในเขตสุขาภิบาล และการจัดทำแผนลงทุนด้านสิ่งแวดล้อมจังหวัดพะเยา ทำให้กับสำนักงานจังหวัดพะเยา, 2539
    • นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมโครงการศึกษาเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการและจัดลำดับความสำคัญการลงทุน เพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจังหวัดปัตตานี ทำให้กับสำนักงานจังหวัดปัตตานี, 2539
    • นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมโครงการศึกษาเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการและจัดลำดับความสำคัญการลงทุน เพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจังหวัดยะลา ทำให้กับสำนักงานจังหวัดยะลา, 2539
    • นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมโครงการศึกษาเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการและจัดลำดับความสำคัญการลงทุน เพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจังหวัดพังงา ทำให้กับสำนักงานจังหวัดพังงา, 2539
    • นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมโครงการศึกษาเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการและจัดลำดับความสำคัญการลงทุน เพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจังหวัดนราธิวาส ทำให้กับสำนักงานจังหวัดนราธิวาส, 2539
    • นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมโครงการศึกษาเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการและจัดลำดับความสำคัญการลงทุน เพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจังหวัดนครศรีธรรมราช ทำให้กับสำนักงานจังหวัดนครศรีธรรมราช, 2539
    • นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมโครงการศึกษาเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการ และจัดลำดับความสำคัญการลงทุนเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจังหวัดระยอง ทำให้กับสำนักงานจังหวัดระยอง, 2539
    • นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมโครงการจัดทำแผนการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่สีเขียวภาคมหานคร ทำให้กับสำนักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม, 2538
    • ผู้ช่วยนักวิจัยโครงการจัดทำแผนการจัดการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติบริเวณถ้ำลอดจังหวัดแม่ฮ่องสอน ทำให้กับสำนักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม, 2538
    • ผู้ช่วยนักวิจัยโครงการจัดทำแผนการจัดการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติบริเวณถ้ำหลวงนางนอน จังหวัดเชียงรายทำให้กับสำนักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม, 2538

 

ประสบการณ์การเป็นวิทยากร

  • วิทยากร โครงการพัฒนาการบริหารจัดการและเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2561   หัวข้ออบรม : การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืน  วันที่ 22 ก.พ.2561  หน่วยงานรับผิดชอบ : สำนักงานเกษตร จังหวัดสระบุรี  สถานที่ฝึกอบรม : ห้องประชุมศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี  ผู้เข้าอบรม : เกษตรกรรุ่นใหม่  วิสาหกิจชุมชน กลุ่มส่งเสริมอาชพ จำนวน 100 คน

 

ผลงานวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์

  • อนันต์  เชี่ยวชาญกิจการ, ชญาณิศา  วงษ์พันธุ์, ณัฏฐกฤษฏิ์  เอกวรรณัง, และสุวันชัย  หวนนากลาง. (2561). การ เปรียบเทียบการตลาดออนไลน์ของผู้ประกอบการธุรกิจที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวสีเขียวระหว่างประเทศออสเตรเลียกับประเทศ ไทย. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 13 (หน้า 1186-1197). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
  • อนันต์  เชี่ยวชาญกิจการ, ณัฏฐกฤษฏิ์  เอกวรรณัง, สุวันชัย  หวนนากลาง, และอัศวิน  แสงพิกุล. (2560). การตลาด ออนไลน์ของผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์. ใน การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งที่ 12 (หน้า 38-51).  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
  • 3 Sangpikul,  A.  and  Eakwannang,  N.  (2 5 5 9 ).  A  factor-cluster  analysis  of  Thailand’s  destination  attractions. Proceeding of International Symposium on Social Sciences and Management (pp.155-164).  Fukuoka: Higher Education Forum Association.
  • ณัฏฐกฤษฏิ์ เอกวรรณัง, ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร, ประทีป ด้วงแค, และอรินทม์ งามนิยม. (2559). ชายหาดท่องเที่ยวกับ ผลที่มีต่อความหลากหลายของนกบริเวณชายหาดในอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารวิจัยและ พัฒนา มจธ, 39(2), 225-237.