รองศาสตราจารย์ ดร.อัศวิน แสงพิกุล

ผู้อำนวยการหลักสูตรมหาบัณฑิต (ป.โท)

สาขาการจัดการการท่องเที่ยว ม.ธุรกิจบัณฑิตย์

มือถือ 081-3042910

อีเมล์ [email protected]

การศึกษา

  • ปริญญาเอก (Tourism), University of South Australia, Australia (ทุนมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์)
  • ปริญญาโท (Management), Southeastern Louisiana University, USA (ทุน Southeastern Louisiana University)
  • ปริญญาตรี (Hotel Management) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ (เกียรตินิยม)

รางวัลเกียรติยศที่ได้รับ

  • ระดับประเทศ
    • บุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
  • ระดับมหาวิทยาลัย (4 รางวัล)
    • อาจารย์ดีเด่น มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
    • นักวิจัยดีเด่น มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
    • นักวิจัยยอดเยี่ยม มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
    • ผู้สอนคุณภาพ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ทุนอบรมต่างประเทศ

  • ได้รับทุนอบรมโครงการผู้นำเยาวชนอาเซียน (Future ASEAN Leaders) ณ ประเทศญี่ปุ่น จากสมาคม IATSS Forum International, Japan และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปี 2550

ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศ - ด้านการเรียนการสอนสมัยใหม่ (4 เรื่อง Scopus)

  • Sangpikul, A. (2020). Learning the real world in MICE Education: The case of exhibition learning in Thailand. Journal of Convention and Event Tourism. 21(3), 225-253.
  • Sangpikul, A. (2020). Challenging graduate students through the experiential learning projects. The case of marketing course in Thailand. Journal of Teaching in Travel & Tourism, 20(1), 40-55.
  • Sangpikul, A. (2017). Implementing academic service learning in a marketing course: Contributions to three beneficiaries. Journal of Hospitality, Leisure, Sport & Tourism Education, 21, 83-87.
  • Sangpikul, A. (2009). Internationalization of Hospitality and Tourism Higher Education: A Perspective from Thailand. Journal of Teaching in Travel and Tourism. 8(4), 71-87.

ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศ – ด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม (12 เรื่อง Scopus)

  • Sangpikul, A. (2020). Tourist perceptions on guided ecotourism tours in Thailand. Hospitality & Tourism Research, 20(2), 245-256.
  • Sangpikul, A. (2019). The analysis of tourists’ e-complaints regarding spa services in Thailand’s major tourism cities. e-Review of Tourism Research, 16(6), 45-64.
  • Sangpikul, A. (2018). The effects of travel experience dimensions on tourist satisfaction and destination loyalty: The case of an island destination. International Journal of Culture, Tourism and Hospitality Research, 12(1), 106-123.
  • Sangpikul, A. (2017). The influences of destination quality on tourists’ loyalty: An investigation of an island destination. TOURISM : An International Interdisciplinary Journal, 65(4), 422-436.
  • Sangpikul, A. (2017). Ecotourism impacts on the economy, society and environment of Thailand. Journal of Reviews on Global Economics, 6, 302-312.
  • Sangpikul, A. (2010). Marketing Ecotourism through the Internet: A Case of Ecotourism Business in Thailand. International Journal of Hospitality and Tourism Administration. vol. 11, no. 2, p. 653-79.
  • Sangpikul, A. and Kim, S. (2009). An Overview and Identification of Barriers Affecting the Meeting and Convention Industry in Thailand. Journal of Convention and Event Tourism. vol. 10, no.3, p.185-210.
  • Sangpikul, A. (2008). A Critical Review of Ecotourism Studies in Thailand. Tourism Analysis. vol. 13, no. 3, p. 55-68.
  • Sangpikul, A. (2008). A Factor-Cluster Analysis of Tourist Motivations: A Case of U.S. Senior Travelers. TOURISM : An International Interdisciplinary Journal. vol. 56, no. 1, p. 25-37.
  • Sangpikul, A. (2008). Travel Motivations of Japanese Senior Travelers to Thailand. International Journal of Tourism Research, vol. 10, no. 1, pp. 81-94.
  • Sangpikul, A. (2007). Segmenting the Japanese Senior Travel Market: Implications for Thailand’s Tourism Industry. Journal of Hospitality & Tourism, vol. 5, no. 1, pp. 95-106.
  • Sangpikul, A. and Batra, A. (2007). Ecotourism: A Perspective from Thai Youth. Journal of Hospitality, Leisure, Sport and Tourism Education, vol. 6, no. 1, pp.81-85.

ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารระดับประเทศ (TCI Journals)

  • อัศวิน แสงพิกุล. (2563). The analysis of service quality with 2 dimensions in hotels and resorts. วารสารมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. 41(1). 82-98.
  • อัศวิน แสงพิกุล. (2563). The assessment of spa service quality with 2 dimensions: subjective and objective dimensions. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. 26(1). 71-85.
  • อัศวิน แสงพิกุล. (2561). การวิเคราะห์คำวิจารณ์ของนักท่องเที่ยวที่ใช้บริการ  สปาในเมืองท่องเที่ยวหลัก. วารสารการจัดการสมัยใหม่. 16(2). 83-96.
  • อัศวิน แสงพิกุล. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์เดินทางท่องเที่ยวกับความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว : กรณีศึกษานักท่องเที่ยวชาวเอเชียที่เดินทางมาท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต. วารสารสุทธิปริทัศน์. 31(99). 93-10.5
  • อัศวิน แสงพิกุล. (2560). การศึกษาผลของความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวยุโรปที่มีต่อความภักดีต่อ จุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ต. วารสารวิชาการ ม.วลัยลักษณ์. 6(1).73 – 81.
  • อัศวิน แสงพิกุล. (2558). การเปรียบเทียบการจัดนำเที่ยวเชิงนิเวศของผู้ประกอบการเพื่อพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยวสีเขียวอย่างมีคุณภาพ : กรณีศึกษาผู้ประกอบการในเกาะภูเก็ตและเกาะบาหลี.วารสารสุทธิปริทัศน์. 30(93). 275-294.
  • อัศวิน แสงพิกุล. (2558). การศึกษาการจัดนำเที่ยวเชิงนิเวศของผู้ประกอบการจัดนำเที่ยวในประเทศไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย. วารสารการจัดการสมัยใหม่. 13(2). 153-172.
  • อัศวิน แสงพิกุล, (2558). การวิเคราะห์งานวิจัยด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์. 29(90), 272-290.
  • อัศวิน แสงพิกุล และธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ. (2559). ประเทศความคิดเห็นของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีต่อลักษณะวิชาและรูปแบบการสอนในวิชาวิจัย ด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. วารสารการจัดการสมัยใหม่. 14(1).33-40.
  • อัศวิน แสงพิกุล, (2557). การวิเคราะห์องค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : ประโยชน์เพื่อการค้นคว้าวิจัยและการพัฒนาในอนาคต.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.หาสารคาม. 33(6). 324-333.
  • อัศวิน แสงพิกุล, (2556). การวิเคราะห์งานวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมของประเทศไทยในรอบทศวรรษ. BU Academic Review. 12(1), 85-97.
  • อัศวิน แสงพิกุล, (2556). ลักษณะและขอบเขตงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม. วารสารการจัดการสมัยใหม่. 10(1). 1-5.
  • อัศวิน แสงพิกุล, (2556). การวิเคราะห์งานวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมของประเทศไทยในรอบทศวรรษ (พ.ศ.2543-2553). BU Academic Review. 12(1).113-126.
  • อัศวิน แสงพิกุล, (2555). การสร้างสรรค์งานวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการ โรงแรม. วารสารเซนต์จอห์น. 15(17). 68-82.
  • อัศวิน แสงพิกุล. (2554). Developing Good Practices for Ecotourism Tour Operators. Sasin Journal of Management. 17(1), 53-86.
  • อัศวิน แสงพิกุล, (2552). การเปรียบเทียบแรงจูงใจในการเดินทางท่องเที่ยวระหว่างนักท่องเที่ยวชาวเอเชียและยุโรป. วารสารสุทธิปริทัศน์. 23(71). 33 – 57.
  • อัศวิน แสงพิกุล, (2550). ภาวะผู้นำกับบทบาทการพัฒนาความเป็นนานาชาติในสถาบันอุดมศึกษาไทย.วารสารสมาคมสถาบันการศึกษาขั้นอุดมศึกษาแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. 10(2).112-124.

ผลงานแต่งตำรา/หนังสือ

  • ตำรา ระเบียบวิธีวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม
  • หนังสือ หลักการตลาดเพื่อการท่องเที่ยว
  • หนังสือ การตลาดเชิงกลยุทธ์ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
  • บทเรียนในหนังสือ Psychology of Happiness and Tourism, Nova Publisher, USA
  • บทเรียนในหนังสือ Internationalization of Hospitality Management Education, Nova Publisher, USA

ประสบการณ์ทำงาน

  • ผู้อำนวยการหลักสูตรมหาบัณฑิต (ป.โท) สาขาการจัดการการท่องเที่ยว ม.ธุรกิจบัณฑิตย์
  • ประธานคณะกรรมการวิจัย คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ม.ธุรกิจบัณฑิตย์
  • ฝ่ายขายและการตลาด โรงแรมโอเรียนเต็ล กรุงเทพฯ
  • ฝ่ายขายและการตลาด บริษัทสยามพรหมประทานจำกัด กรุงเทพฯ
  • ผู้ช่วยนักวิจัย Southeastern Louisiana University, USA

งานบริการวิชาการ

  • กรรมการสภาวิชาการ ม.ราชภัฏสุราษฎร์ธานี
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานวิชาการของสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ
  • กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก สถาบันอุดมศึกษาต่างๆ

วิชาที่สอน/เชี่ยวชาญ ระดับ ป.โทและเอก

  • วิชาวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม
  • การตลาดการท่องเที่ยวและการโรงแรม
  • พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
  • สัมมนาการท่องเที่ยวและการโรงแรม
  • การจัดการการท่องเที่ยวและการโรงแรม
  • การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน/การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
  • สาขาบริหารธุรกิจ