การศึกษาเชิงเปรียบเทียบระหว่างกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบโปรดักต์ไลน์และแบบน้ำตก

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
ซอฟต์แวร์โปรดักต์ไลน์ได้รับการยอมรับว่าเป็นกระบวนทัศน์สำคัญทางด้านวิศวกรรมระบบซอฟต์แวร์
ในช่วงหลายปีทีSผ่านมามีการนำเสนอระเบียบแบบแผนและวิธีการจำนวนมากสำหรับสนับสนุนการพัฒนาระบบ
ซอฟต์แวร์ทSีมีพื[นฐานการพัฒนาแบบโปรดักต์ไลน์ อย่างไรก็ตามการพัฒนาแบบโปรดักต์ไลน์ยังคงมีความยุ่งยาก
ในเชิงปฏิบัติ จึงกลายเป็นคำถามว่าวิธีการพัฒนาระบบซอฟต์แวร์แบบโปรดักต์ไลน์นั[นก่อให้เกิดผลประโยชน์
และยึดหยุ่นมากกว่าการพัฒนาทSีใช้แม่แบบการพัฒนาระบบซอฟต์แวร์แบบดั[งเดิมอย่างแม่แบบน[ำตกหรือไม่
งานวิจัยชิ[นนี[พิจารณาแง่มุมเชิงปริมาณและคุณภาพของการพัฒนาซอฟต์แวร์ทSีได้โดยเปรียบเทียบระหว่างการ
พัฒนาโดยประยุกต์ใช้โปรดักต์ไลน์และน[ำตก งานวิจัยนี[นำเสนอการทำโครงการเชิงศึกษาผ่านกระบวนการแบบ
โปรดักต์ไลน์และน[ำตก มีการสำรวจและสัมภาษณ์เพSือวัดความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกSียวข้องในการพัฒนาระบบ
ซอฟต์แวร์ มีการวัดเวลาทSีใช้ไปและวัดข้อผิดพลาดทSีเกิดขึ[นระหว่างขั[นตอนการพัฒนาและบำรุงรักษาระบบ
ซอฟต์แวร์ นอกจากนี[งานวิจัยชิ[นนี[ได้อธิบายประสบการณ์และปัญหาทSีเกิดขึ[นของวิศวกรรมความต้องการและ
การจัดการความต้องการระหว่างการดำเนินโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบโปรดักต์ไลน์และแบบเดีSยว
Abstract

Abstract

Abstract
Software product line has been recognised as an important paradigm for software
systems engineering. In the last years, a large number of methodologies and approaches have
been proposed to support the development of software systems based on product line
development. However, its context leads difficulties to software product line engineering in
practical. It has been quested whether software product line-based approach is more productive
and flexible than traditional software development model i.e. waterfall model. This research thus
examines the qualitative and quantitative aspects of software development which applies software
product line and waterfall. The research presents the study on empirical projects based on
software product line and waterfall processes. In particular, we conduct the survey and interview
to capture the satisfaction of stakeholders and measure the effort spent and errors occurred during
software development and maintenance phases. Moreover, the research describes the experiences
and challenges of requirements engineering and management that arise in the context of industrial
software product line development. It has been derived from the study on empirical projects based
on software product line and single software development.